วิธีระบบ
วันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2555
วิธีระบบ
บทที่2 วิธระบบ
วิธีระบบ....เป็นวิธีการรวมหน่วยย่อยๆ ซึ่งเป็นอิสระจากกันให้มีความสัมพันธ์กัน โดยการจัดระเบียบอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ความสำคัญของวิธีระบบวิธีระบบกลายเป็นแกนแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาทางพฤติกรรมศาสตร์ และกลายเป็นคำหลักของเทคโนโลยีการศึกษา การฝึกอบรมและการให้การศึกษา เน้นไปที่ผู้ออกแบบและจัดโปรแกรมควบคู่ไปกับการผลิตช่างเทคนิค เพื่อให้ได้นักเทคโนโลยีการศึกษาที่มองภาพการใช้เทคโนโลยีการศึกษาที่มีระบบและมองภาพกว้างขวางขึ้นองค์ประกอบของระบบ
1. ข้อมูลป้อนเข้า(input) ได้แก่ วัตถุดิบ ข้อมูลดิบ ปัญหาความต้องการวัตถุประสงค์ ข้อกำหนดกฎเกณฑ์
2. กระบวนการ(process) ได้แก่ วิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน
3. ผลลัพธ์ (output) ได้แก่ ผลงานที่ได้จากการป้อนข้อมูลและกระบวนการเพื่อที่จะนำไปประเมินผล
4. ข้อมูลย้อนกลับ(feedback) ผลการประเมินการทำงานของระบบ ซึ่งประเมินย้อนกลับได้ทุกขั้นตอน
ขั้นตอนการจัดระบบ
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบ(system analysis) แบ่งออกเป็น 4 หน่วยย่อย
1.1 วิเคราะห์แนวทางการปฏิบัติ เป็นการพิจารณาทิศทางที่จะดำเนินการและจุดมุ่งหมายของระบบ เพื่อบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
1.2 วิเคราะห์หน้าที่ เป็นการกำหนดหน้าที่โดยละเอียดตามที่กำหนดไว้
1.3 วิเคราะห์งาน เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการกระทำตามหน้าที่ที่ได้กำหนดไว้
1.4 วิเคราะห์วิธีการและสื่อ เป็นการกำหนดหลักการปฏิบัติที่นำไปสู่จุดมุ่งหมาย
2. ขั้นการสังเคราะห์ระบบ (system synthesis)
2.1 เลือกวิธีหรือกลวิธีเพื่อกาทางไปสู่จุดมุ่งหมาย ทดสอบกลวิธีเพื่อปรับปรุงวิธีการให้เหมาะสมกับการดำเนินงาน
2.2 การแก้ปัญหา เมื่อได้วิธีแล้วก็ใช้กลวิธีนั้น ดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 แบบจำลองแนวนอนข้อมูลกระบวนการผลลัพธ์ผลย้อนกลับ
3.2 แบบจำลองแนวตั้งผลย้อนกลับผลลัพธ์กระบวนการข้อมูล3
.3 แบบจำลองแนวนอนผสมแนวตั้งข้อมูล 1ข้อมูล 2ข้อมูล 3กระบวนการ 1กระบวนการ 2กระบวนการ 3ผลลัพธ์ผลย้อนกลับ
3.4 แบบจำลองแบบวงกลมหรือวงรีกระบวนการผลย้อนกลับข้อมูลผลลัพธ์
3.5 แบบจำลองกึ่งแผนภูมิกึ่งรูปภาพสาระสื่อต่างๆครูผู้ปกครองชุมชนกระบวนการการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ3.6 แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์หรือคอมพิวเตอร์กรอบ 1กรอบ 2กรอบ 3กรอบ 4กรอบ 3 ขกรอบ 3 กกรอบ 1 คกรอบ 1 ขกรอบ 1 ก
4. ขั้นตอนการจำลองสถานการณ์เป็นการทดลองใช้ระบบตามแบบจำลองที่สร้างขึ้นในสภาพการณ์เลียนแบบสถานการณ์จริง เพื่อปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ระบบก่อนนำไปใช้จริง เนื่องจากถ้านำไปใช้ในสถานการณ์จริง อาจทำให้สิ้นเปลืองเวลา แรงงานและเงิน หรืออาจเสี่ยงต่ออันตรายวิธีระบบกับสื่อการเรียนการสอน
1. การผลิตสื่อ เป็นขั้นตอนการสร้างสรรค์วัสดุอุปกรณ์หรือวิธีการให้มีคุณภาพดี ใช้งานได้เหมาะสมกับเนื้อหา วัตถุประสงค์ และลักษณะธรรมชาติของผู้เรียนข้อมูลที่ป้อนเข้ากระบวนการผลลัพธ์ข้อมูลย้อนกลับ-ปัญหาความจำเป็น -ออกแบบ -สื่อกี่สอนที่ต้องการ-ข้อมูลของผู้เรียน -วางแผนในการผลิต -ทดสอบประสิทธิภาพ-แนวคิดในการผลิต -รวบรวมวัตถุดิบ -ประเมินผล-ทรัพยากรในการผลิต -ดำเนินการผลิต -ปรับปรุงแก้ไข-วัตถุประสงค์ -เทคนิคเฉพาะทาง -เนื้อหา -ทดสอบ/ทดลอง-เวลาและงบประมาณ -ตกแต่งปรับปรุงข้อมูลย้อนกลับผลลัพธ์กระบวนการข้อมูลที่ป้อนเข้า
2. การใช้สื่อ เป็นขั้นตอนการแสดงสื่อในขณะทำการสอนให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์การเลือกข้อมูล การใช่สื่อตามแผนที่วางไว้ การเรียนรู้ที่ต้องการ-เนื้อหา -ใช้ในเวลาที่เหมาะสม -สังเกตความสนใจของผู้เรียน-จุดมุ่งหมาย -ใช้อย่างคล่องแคล่ว -ประเมินผลและติดตามผล-ลักษณะผู้เรียน -ใช้อย่างมั่นใจแน่นอน -การปรับปรุงแก้ไข-รูปแบบการเรียน -ใช้อย่างต่อเนื่อง -ประเภทสื่อการสอน -ถ้าเป็นสื่อประเภทกิจกรรมต้องให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม-สภาพแวดล้อม -เมื่อใช้แล้วเก็บให้เรียบร้อยทันที-ความพร้อม-ครูผู้สอน-ผู้เรียน-สื่อการสอนข้อมูลย้อนกลับ
3. การเก็บรักษาสื่อ การเก็บรักษาสื่ออย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การค้นหาหรือหยิบมาใช้ได้สะดวกรวดเร็วตรวจสอบได้ง่าย ประหยัดเวลาข้อมูลที่ป้อนเข้ากระบวนการผลลัพธ์-สื่อการเรียนการสอนที่เก็บรักษาอย่างเป็นระบบระเบียบอยู่ในสภาพดี สามารถนำไปใช้งานได้อย่างเป็นระบบระเบียบ-ปัญหา-การวางแผนในการเก็บรักษา-วัสดุ/อุปกรณ์-การจำแนกประเภทของสื่อ-ทรัพยากร -การเตรียมที่เก็บรักษา เช่น ตู้ ลิ้นชัก-บุคคล ผู้ใช้ ผู้เก็บรักษา-การทำทะเบียนสื่อ-ระยะเวลา-การดำเนินการเก็บรักษาสื่อ-แรงงาน-การให้บริการ-งบประมาณ-การเก็บรักษาตามที่จำแนกได้-สถานที่รูปแบบจำลองการผลิตและการใช้สื่อแบบ The Assure Model
1. วิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน ผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถในการรับรู้และการเรียนรู้แตกต่างกัน การเลือกเนื้อหาบทเรียนและสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน จะช่วยกระตุ้นความสนใจและทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น เช่น ผู้เรียนมีทักษะในการอ่านต่ำควรใช้ประเภทรูปภาพ ภาพวิดีทัศน์ ไม่ควรเน้นสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ
2. การกำหนดวัตถุประสงค์ (state objective) เป็นความต้องการที่ตั้งไว้ เพื่อเรียนรู้หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการใช้สื่อการเรียนการสอน เนื้อหาบทเรียนควรครอบคลุมการเรียนรู้ด้านต่างๆ ต่อไปนี้
2.1 ด้านความรู้ความเข้าใจ การกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การตัดสิน และการประเมินผล
2.2 ด้านจิตใจ การกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเกี่ยวกับอารมณ์และความรู้สึกของผู้เรียน เช่น ความชอบ ความซาบซึ้ง การเห็นคุณค่า
2.3 ด้านทักษะหรือความชำนาญ กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทั้งทางด้านการใช้สมองและความรู้สึกอย่างคล่องแคล่ว
3. การเลือก ดัดแปลง หรือออกแบบสื่อ3.1 การเลือก การเลือกสื่อการเรียนการสอนที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2 การดัดแปลง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหา วิธีสอน และลักษณะของผู้เรียน
3.3 การผลิต การผลิตสื่อการเรียนการสอนให้ได้ผลดีมีปัจจัยต่างๆ เช่น ลักษณะของเนื้อหาบทเรียน จุดมุ่งหมายของบทเรียน ลักษณะของผู้เรียน ค่าใช้จ่าย ความชำนาญด้านเทคนิคเฉพาะ เวลา ความพร้อมของอุปกรณ์ที่ใช่ในการผลิต
4. การใช้สื่อ (utilize materials) เป็นขั้นตอนการแสดงสื่อประกอบการเรียนการสอนจริง ใช้สื่อตามแผนที่เตรียมไว้ ขณะใช้สื่อต้องหันหน้าเข้าหาผู้เรียนเสมอ ใช้สื่ออย่างต่อเนื่องและคล่องแคล่ว
5. การกำหนดการตอบสนองของผู้เรียน (require learner response) กระบวนการเรียนการสอนที่ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดี ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนตอบสนองต่อสื่อและเนื้อหาบทเรียน เช่น ก่อนให้ผู้เรียนชมภาพยนตร์ ครูผู้สอนควรเล่าเค้าโครงเรื่องอย่างย่อและกำหนดปัญหาเพื่อการตอบสนองของผู้เรียนเป็นช่วงๆ หรืออาจให้ผู้เรียนชมภาพยนตร์จนจบแล้วอภิปรายในภายหลังก็ได้
6. การประเมิน (evaluation)
2.3 การประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน เพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ที่ได้
3. ขั้นการสร้างแบบจำลอง6.1 การประเมินกระบวนการสอน เพื่อให้ทราบว่าการใช้สื่อการเรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด
6.2 การประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ทราบว่าการใช้สื่อการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
6.3 การประเมินสื่อและวิธีการสอน ควรพิจารณาเกี่ยวกับคุณภาพของสื่อ ได้แก่ ความคล่องตัว ความแข็งแรง และประสิทธิภาพในการใช้งานที่สามารถดึงดูดความสนใจ และทำให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้เป็นอย่างดี
2. กระบวนการ(process) ได้แก่ วิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน
3. ผลลัพธ์ (output) ได้แก่ ผลงานที่ได้จากการป้อนข้อมูลและกระบวนการเพื่อที่จะนำไปประเมินผล
4. ข้อมูลย้อนกลับ(feedback) ผลการประเมินการทำงานของระบบ ซึ่งประเมินย้อนกลับได้ทุกขั้นตอน
ขั้นตอนการจัดระบบ
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบ(system analysis) แบ่งออกเป็น 4 หน่วยย่อย
1.1 วิเคราะห์แนวทางการปฏิบัติ เป็นการพิจารณาทิศทางที่จะดำเนินการและจุดมุ่งหมายของระบบ เพื่อบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
1.2 วิเคราะห์หน้าที่ เป็นการกำหนดหน้าที่โดยละเอียดตามที่กำหนดไว้
1.3 วิเคราะห์งาน เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการกระทำตามหน้าที่ที่ได้กำหนดไว้
1.4 วิเคราะห์วิธีการและสื่อ เป็นการกำหนดหลักการปฏิบัติที่นำไปสู่จุดมุ่งหมาย
2. ขั้นการสังเคราะห์ระบบ (system synthesis)
2.1 เลือกวิธีหรือกลวิธีเพื่อกาทางไปสู่จุดมุ่งหมาย ทดสอบกลวิธีเพื่อปรับปรุงวิธีการให้เหมาะสมกับการดำเนินงาน
2.2 การแก้ปัญหา เมื่อได้วิธีแล้วก็ใช้กลวิธีนั้น ดำเนินการแก้ปัญหา
3.1 แบบจำลองแนวนอนข้อมูลกระบวนการผลลัพธ์ผลย้อนกลับ
3.2 แบบจำลองแนวตั้งผลย้อนกลับผลลัพธ์กระบวนการข้อมูล3
.3 แบบจำลองแนวนอนผสมแนวตั้งข้อมูล 1ข้อมูล 2ข้อมูล 3กระบวนการ 1กระบวนการ 2กระบวนการ 3ผลลัพธ์ผลย้อนกลับ
3.4 แบบจำลองแบบวงกลมหรือวงรีกระบวนการผลย้อนกลับข้อมูลผลลัพธ์
3.5 แบบจำลองกึ่งแผนภูมิกึ่งรูปภาพสาระสื่อต่างๆครูผู้ปกครองชุมชนกระบวนการการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ3.6 แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์หรือคอมพิวเตอร์กรอบ 1กรอบ 2กรอบ 3กรอบ 4กรอบ 3 ขกรอบ 3 กกรอบ 1 คกรอบ 1 ขกรอบ 1 ก
4. ขั้นตอนการจำลองสถานการณ์เป็นการทดลองใช้ระบบตามแบบจำลองที่สร้างขึ้นในสภาพการณ์เลียนแบบสถานการณ์จริง เพื่อปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ระบบก่อนนำไปใช้จริง เนื่องจากถ้านำไปใช้ในสถานการณ์จริง อาจทำให้สิ้นเปลืองเวลา แรงงานและเงิน หรืออาจเสี่ยงต่ออันตรายวิธีระบบกับสื่อการเรียนการสอน
1. การผลิตสื่อ เป็นขั้นตอนการสร้างสรรค์วัสดุอุปกรณ์หรือวิธีการให้มีคุณภาพดี ใช้งานได้เหมาะสมกับเนื้อหา วัตถุประสงค์ และลักษณะธรรมชาติของผู้เรียนข้อมูลที่ป้อนเข้ากระบวนการผลลัพธ์ข้อมูลย้อนกลับ-ปัญหาความจำเป็น -ออกแบบ -สื่อกี่สอนที่ต้องการ-ข้อมูลของผู้เรียน -วางแผนในการผลิต -ทดสอบประสิทธิภาพ-แนวคิดในการผลิต -รวบรวมวัตถุดิบ -ประเมินผล-ทรัพยากรในการผลิต -ดำเนินการผลิต -ปรับปรุงแก้ไข-วัตถุประสงค์ -เทคนิคเฉพาะทาง -เนื้อหา -ทดสอบ/ทดลอง-เวลาและงบประมาณ -ตกแต่งปรับปรุงข้อมูลย้อนกลับผลลัพธ์กระบวนการข้อมูลที่ป้อนเข้า
2. การใช้สื่อ เป็นขั้นตอนการแสดงสื่อในขณะทำการสอนให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์การเลือกข้อมูล การใช่สื่อตามแผนที่วางไว้ การเรียนรู้ที่ต้องการ-เนื้อหา -ใช้ในเวลาที่เหมาะสม -สังเกตความสนใจของผู้เรียน-จุดมุ่งหมาย -ใช้อย่างคล่องแคล่ว -ประเมินผลและติดตามผล-ลักษณะผู้เรียน -ใช้อย่างมั่นใจแน่นอน -การปรับปรุงแก้ไข-รูปแบบการเรียน -ใช้อย่างต่อเนื่อง -ประเภทสื่อการสอน -ถ้าเป็นสื่อประเภทกิจกรรมต้องให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม-สภาพแวดล้อม -เมื่อใช้แล้วเก็บให้เรียบร้อยทันที-ความพร้อม-ครูผู้สอน-ผู้เรียน-สื่อการสอนข้อมูลย้อนกลับ
3. การเก็บรักษาสื่อ การเก็บรักษาสื่ออย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การค้นหาหรือหยิบมาใช้ได้สะดวกรวดเร็วตรวจสอบได้ง่าย ประหยัดเวลาข้อมูลที่ป้อนเข้ากระบวนการผลลัพธ์-สื่อการเรียนการสอนที่เก็บรักษาอย่างเป็นระบบระเบียบอยู่ในสภาพดี สามารถนำไปใช้งานได้อย่างเป็นระบบระเบียบ-ปัญหา-การวางแผนในการเก็บรักษา-วัสดุ/อุปกรณ์-การจำแนกประเภทของสื่อ-ทรัพยากร -การเตรียมที่เก็บรักษา เช่น ตู้ ลิ้นชัก-บุคคล ผู้ใช้ ผู้เก็บรักษา-การทำทะเบียนสื่อ-ระยะเวลา-การดำเนินการเก็บรักษาสื่อ-แรงงาน-การให้บริการ-งบประมาณ-การเก็บรักษาตามที่จำแนกได้-สถานที่รูปแบบจำลองการผลิตและการใช้สื่อแบบ The Assure Model
1. วิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน ผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถในการรับรู้และการเรียนรู้แตกต่างกัน การเลือกเนื้อหาบทเรียนและสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน จะช่วยกระตุ้นความสนใจและทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น เช่น ผู้เรียนมีทักษะในการอ่านต่ำควรใช้ประเภทรูปภาพ ภาพวิดีทัศน์ ไม่ควรเน้นสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ
2. การกำหนดวัตถุประสงค์ (state objective) เป็นความต้องการที่ตั้งไว้ เพื่อเรียนรู้หรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการใช้สื่อการเรียนการสอน เนื้อหาบทเรียนควรครอบคลุมการเรียนรู้ด้านต่างๆ ต่อไปนี้
2.1 ด้านความรู้ความเข้าใจ การกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การตัดสิน และการประเมินผล
2.2 ด้านจิตใจ การกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเกี่ยวกับอารมณ์และความรู้สึกของผู้เรียน เช่น ความชอบ ความซาบซึ้ง การเห็นคุณค่า
2.3 ด้านทักษะหรือความชำนาญ กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทั้งทางด้านการใช้สมองและความรู้สึกอย่างคล่องแคล่ว
3. การเลือก ดัดแปลง หรือออกแบบสื่อ3.1 การเลือก การเลือกสื่อการเรียนการสอนที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน
3.2 การดัดแปลง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหา วิธีสอน และลักษณะของผู้เรียน
3.3 การผลิต การผลิตสื่อการเรียนการสอนให้ได้ผลดีมีปัจจัยต่างๆ เช่น ลักษณะของเนื้อหาบทเรียน จุดมุ่งหมายของบทเรียน ลักษณะของผู้เรียน ค่าใช้จ่าย ความชำนาญด้านเทคนิคเฉพาะ เวลา ความพร้อมของอุปกรณ์ที่ใช่ในการผลิต
4. การใช้สื่อ (utilize materials) เป็นขั้นตอนการแสดงสื่อประกอบการเรียนการสอนจริง ใช้สื่อตามแผนที่เตรียมไว้ ขณะใช้สื่อต้องหันหน้าเข้าหาผู้เรียนเสมอ ใช้สื่ออย่างต่อเนื่องและคล่องแคล่ว
5. การกำหนดการตอบสนองของผู้เรียน (require learner response) กระบวนการเรียนการสอนที่ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดี ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนตอบสนองต่อสื่อและเนื้อหาบทเรียน เช่น ก่อนให้ผู้เรียนชมภาพยนตร์ ครูผู้สอนควรเล่าเค้าโครงเรื่องอย่างย่อและกำหนดปัญหาเพื่อการตอบสนองของผู้เรียนเป็นช่วงๆ หรืออาจให้ผู้เรียนชมภาพยนตร์จนจบแล้วอภิปรายในภายหลังก็ได้
6. การประเมิน (evaluation)
2.3 การประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน เพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ที่ได้
3. ขั้นการสร้างแบบจำลอง6.1 การประเมินกระบวนการสอน เพื่อให้ทราบว่าการใช้สื่อการเรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด
6.2 การประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ทราบว่าการใช้สื่อการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
6.3 การประเมินสื่อและวิธีการสอน ควรพิจารณาเกี่ยวกับคุณภาพของสื่อ ได้แก่ ความคล่องตัว ความแข็งแรง และประสิทธิภาพในการใช้งานที่สามารถดึงดูดความสนใจ และทำให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้เป็นอย่างดี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)